- Home
- คอลัมน์พิเศษ
- Culture Watch
- 【Culture Watch】เมื่อพูดถึงวัฒน...
【Culture Watch】เมื่อพูดถึงวัฒนธรรมเส้น(ก๋วยเตี๋ยว)ระหว่าง “ราเมงและอุด้ง” ในจ.ฟุคุโอกะ
ที่ฟุคุโอกะ อุด้งก็อร่อย
อยากจะให้ทุกคนดูภาพนี้ค่ะ เป็นภาพที่เด็กไทยเขียนขั้นมาตามจินตนาการของตัวเองเกี่ยวกับจ.ฟุคุโอกะ ในงานประกวดวาดภาพแห่งหนึ่งในฟุคุโอกะ เมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา
โดยจะเห็นได้ชัดว่า “สตรอเบอรรี่” เป็นคำตอบที่ได้มาเยอะโดยมี “ราเมง ” ตามมาไม่แพ้เช่นกัน
เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เหล่าบรรณาธิการนิตรสารจากประเทศไต้หวัน ไทยและจีนมาถ่ายทำที่จ.ฟุคุโอกะ ช่วงที่ถ่ายทำก็มีการแวะช้อปปิ้งตามร้านต่างๆบ้าง แวะทานของหวานบ้าง แน่นอนราเมงนี่ก็ดูเหมือนจะขาดไม่ได้ในวันนั้นๆ ซึ่งมีเรื่องราวเหล่านี้ลงในเว๊ปท์เราด้วย(ตามในคอลัมน์รายงานช่วงอยู่ฟุคุโอกะค่ะ)。ถ้ามีใครเอ่ยถึงอาหารที่มีชชื่อในฟุคุโอกะแล้วหล่ะก็ คงไม่ต้องทายกันให้เสียเวลาเลยค่ะ เพราะทุกคนจะต้องพูดเสียงเดียวกันเลยว่า ราเมง หรือ โมทซึนาเบะ(คล้ายๆต้มแซ่บบ้านเรา) หรือ เมนไทโกะ (ไข่ปลา)
เมื่อวันก่อน ดิฉันดูข้อมูลสถิติของจ.ฟุคุโอกะ แล้วพบคำถามๆหนึ่งที่น่าสนใจ ที่ว่า
"ในจ.ฟุคุโอกะ จำนวนร้านราเมงและจำนวนร้านอุด้ง ร้านไหนมีมากกว่ากัน"
เขาเขียนบอกว่ามี ร้านราเมง รวมถึงร้านอาหารจีนด้วยทั้งหมด 2087 ร้าน ส่วนร้านอุด้ง รวมไปถึงร้านที่ขายโซบะและอุด้งด้วยกันแล้วมีทั้งหมด 1154 ร้าน
ถ้าจะรวมถึงร้านอาหารจีนด้วยแล้ว รู้สึกว่าข้อมูลจะดูกว้างไปนิด ดิฉันก็เลยไปลองนับร้านราเมงดู ในสมุดหน้าเหลือง (Townpage) แล้วก็พบว่าร้านราเมงมีอยู่ถึง 214 ร้าน ส่วนร้านอุด้ง(รวมร้านที่มีโซบะด้วย) มี 198 ร้าน。
ดูยังๆ ร้านราเมงก็ยังมากกว่าร้านอุด้งอยู่ดี แต่ถึงกระนั้นจำนวนก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก
ราเมงที่ฟุคุโอกะอร่อยแล้วก็ไปทานบ่อยค่ะ แน่นอนนักท่องเที่ยวต้องได้ลองทานราเมงแล้วด้วยเช่นกัน แต่ลืมอะไรไปหรือเปล่าคะ
ที่ฟุคุโอกะก็มีวัฒนธรรมเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ดีอยู่อีกอย่าง!!!
เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เหล่าบรรณาธิการนิตรสารจากประเทศไต้หวัน ไทยและจีนมาถ่ายทำที่จ.ฟุคุโอกะ ช่วงที่ถ่ายทำก็มีการแวะช้อปปิ้งตามร้านต่างๆบ้าง แวะทานของหวานบ้าง แน่นอนราเมงนี่ก็ดูเหมือนจะขาดไม่ได้ในวันนั้นๆ ซึ่งมีเรื่องราวเหล่านี้ลงในเว๊ปท์เราด้วย(ตามในคอลัมน์รายงานช่วงอยู่ฟุคุโอกะค่ะ)。ถ้ามีใครเอ่ยถึงอาหารที่มีชชื่อในฟุคุโอกะแล้วหล่ะก็ คงไม่ต้องทายกันให้เสียเวลาเลยค่ะ เพราะทุกคนจะต้องพูดเสียงเดียวกันเลยว่า ราเมง หรือ โมทซึนาเบะ(คล้ายๆต้มแซ่บบ้านเรา) หรือ เมนไทโกะ (ไข่ปลา)
เมื่อวันก่อน ดิฉันดูข้อมูลสถิติของจ.ฟุคุโอกะ แล้วพบคำถามๆหนึ่งที่น่าสนใจ ที่ว่า
"ในจ.ฟุคุโอกะ จำนวนร้านราเมงและจำนวนร้านอุด้ง ร้านไหนมีมากกว่ากัน"
เขาเขียนบอกว่ามี ร้านราเมง รวมถึงร้านอาหารจีนด้วยทั้งหมด 2087 ร้าน ส่วนร้านอุด้ง รวมไปถึงร้านที่ขายโซบะและอุด้งด้วยกันแล้วมีทั้งหมด 1154 ร้าน
ถ้าจะรวมถึงร้านอาหารจีนด้วยแล้ว รู้สึกว่าข้อมูลจะดูกว้างไปนิด ดิฉันก็เลยไปลองนับร้านราเมงดู ในสมุดหน้าเหลือง (Townpage) แล้วก็พบว่าร้านราเมงมีอยู่ถึง 214 ร้าน ส่วนร้านอุด้ง(รวมร้านที่มีโซบะด้วย) มี 198 ร้าน。
ดูยังๆ ร้านราเมงก็ยังมากกว่าร้านอุด้งอยู่ดี แต่ถึงกระนั้นจำนวนก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก
ราเมงที่ฟุคุโอกะอร่อยแล้วก็ไปทานบ่อยค่ะ แน่นอนนักท่องเที่ยวต้องได้ลองทานราเมงแล้วด้วยเช่นกัน แต่ลืมอะไรไปหรือเปล่าคะ
ที่ฟุคุโอกะก็มีวัฒนธรรมเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ดีอยู่อีกอย่าง!!!
Mona จัง นางแบบนิตรสารแฟชั่น GLAMOROUS Taiwan Edition ทำท่าโพสเท่ห์ๆตรงที่ลอดประตู Jyotenji Templeในเขตฮาคาตะ อ.ฟุคุโอกะ ณ ตรงนั้นจะมีรูปสลักหิน ที่ที่เชื่อว่าเป็น “ ที่กำเนิดอุด้งและโซบะ”。
ว่ากันว่ามีพระสงฆ์องค์หนึ่งชื่อ Shoichi ท่านเป็นผู้สร้างวัดนี้ขึ้นในสมัย Kamakura โดยท่านได้นำเทคโนโลยีจากประเทศจีนสมัยก่อนมาเผยแพร่อย่างกว้างขวางในประเทศญี่ปุ่น เช่น สิ่งทอ วิธีการผลิตชา วิธีทำมังจู(ขนมโมจิ) และอุด้ง เป็นต้น
ประวัติศาสตร์อุด้งในฟุคุโอกะเก่า และเส้นอุด้งก็ถูกทำขึ้นมาให้เข้ากับภูมิประเทศและนิสัยใจคอของผู้คนสมัยนั้น
รสชาติของน้ำซุปแบบใสๆเข้าได้ดีกับเส้นนุ่มๆของอุด้ง เครื่อง topping ก็คงไม่เกินมารุเตน ( Maru-te )หรือ โกโบเตน( Gobou-ten)ろう。
วิธีการผลิตจจากประเทศจีนได้ถูกถ่ายทอดมาแรมเดือนแรมปี จนถึงยุคปัจจุบัน ดังที่เราได้กินอุด้งอยู่ทุกวันนี้
ในแต่ละประเทศเอเชีย
ก็มีวัฒนธรรมเส้นต่างๆ
ถ้ามีโอกาส ไม่ใช่แค่ราเมง ต้องให้มาทำสกู๊ปอุด้งฟุคุโอกะด้วยแล้ว จะได้รับความคิดเห็นอย่างไรบ้างนะ ต้องคอยติดตามดูค่ะ ( Editor MOU)
ว่ากันว่ามีพระสงฆ์องค์หนึ่งชื่อ Shoichi ท่านเป็นผู้สร้างวัดนี้ขึ้นในสมัย Kamakura โดยท่านได้นำเทคโนโลยีจากประเทศจีนสมัยก่อนมาเผยแพร่อย่างกว้างขวางในประเทศญี่ปุ่น เช่น สิ่งทอ วิธีการผลิตชา วิธีทำมังจู(ขนมโมจิ) และอุด้ง เป็นต้น
ประวัติศาสตร์อุด้งในฟุคุโอกะเก่า และเส้นอุด้งก็ถูกทำขึ้นมาให้เข้ากับภูมิประเทศและนิสัยใจคอของผู้คนสมัยนั้น
รสชาติของน้ำซุปแบบใสๆเข้าได้ดีกับเส้นนุ่มๆของอุด้ง เครื่อง topping ก็คงไม่เกินมารุเตน ( Maru-te )หรือ โกโบเตน( Gobou-ten)ろう。
วิธีการผลิตจจากประเทศจีนได้ถูกถ่ายทอดมาแรมเดือนแรมปี จนถึงยุคปัจจุบัน ดังที่เราได้กินอุด้งอยู่ทุกวันนี้
ในแต่ละประเทศเอเชีย
ก็มีวัฒนธรรมเส้นต่างๆ
ถ้ามีโอกาส ไม่ใช่แค่ราเมง ต้องให้มาทำสกู๊ปอุด้งฟุคุโอกะด้วยแล้ว จะได้รับความคิดเห็นอย่างไรบ้างนะ ต้องคอยติดตามดูค่ะ ( Editor MOU)

▲「GLAMOROUS Taiwan Edition」ประจำเดือนมิถุนายน 2555

▲「▲ โกโบเต้น อุด้ง ภาพจากนิตรสาร「Fukuoka ShowcaseMarugoto Fukuoka・Hakata」」
Related Articles
WHAT’S NEW
EDITORS' PICKS
PRESENTS
asianbeat's present campaign!
- ◆ Winner announced! ลุ้นรับกระดาษสีพร้อมลายเซ็นจากวง คุณ Aoyama Yoshino, คุณ Suzushiro Sayumi สำหรับ 2 ท่าน
- ◆ Winner announced! ลุ้นรับกระดาษสีพร้อมลายเซ็นจากวง Okasaki Miho คุณ Kumada Akane และคุณMindaRyn สำหรับ 2 ท่าน
- ◆Winner announced! ลุ้นรับของรางวัลจาก "เกิดใหม่ทั้งทีก็เป็นสไลม์ไปซะแล้ว Scarlet Bond เวอร์ชั่นภาพยนตร์" สำหรับ 3 ท่าน